Humberger Menu

คาร์บอนเครดิต = ไร้ประโยชน์? เมื่อการชดเชยคาร์บอนอาจไม่ยั่งยืนจริงและกำลังกระทบชีวิตคน

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Nature Matter

Environment

22 มี.ค. 67

creator
ศิริวรรณ สิทธิกา
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+
ทำไมตัวแทนจากรัฐบาลตาลีบันถึงถูกเชิญเข้าร่วมประชุมโลกร้อน COP29 ในเมื่อตาลีบันยังไม่ถูกยอมรับจากประชาคมโลก
morebutton read more
Summary
  • ตลาดคาร์บอนเครดิตกำลังเดินหน้า ในขณะที่กระแสกลับสวนทาง เพราะเกิดการตั้งคำถามถึงผลกระทบที่ตามมา และการฉวยเอาแนวคิดนี้ฟอกเขียวธุรกิจด้วยภาพลักษณ์ที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นั่นเป็นที่มาของการศึกษาวิจัยอย่างกว้างขวางทั่วโลก และงานศึกษาในหลายๆ ชิ้น ล้วนระบุผลไปในทำนองเดียวกันว่า โครงการชดเชยคาร์บอนที่เกิดขึ้นในโลก ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง ‘ไร้ประโยชน์’
  • มากกว่า 70% ของโครงการชดเชยคาร์บอน สร้างผลกระทบด้านลบต่อชุมชนท้องถิ่น ทั้งแง่สิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ และในจำนวนเหล่านั้นยังละเมิดสิทธิมนุษยชนของคนในพื้นที่ โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่เป็นพื้นที่ตั้งของโครงการชดเชยคาร์บอน อาทิ โครงการป่าไม้ โครงการจัดการขยะ โครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานลม ฯลฯ
  • ‘คำป่าหลาย’ ชุมชนขนาดเล็กในจังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเคยถูกไล่รื้อที่ทำกินและดำเนินคดีจากนโยบาย ‘ทวงคืนผืนป่า’ ยุค คสช. หวนกลับเข้ามาสู่วังวนของการพิพาทอีกครั้ง เมื่อโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานลมปักหมุดลงในชุมชนในนามความยั่งยืน มี ‘คาร์บอนเครดิต’ เป็นสมการใหญ่ และกำลังละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิชุมชน
  • เมื่อคาร์บอนเครดิต กลายเป็นเครื่องมือให้ภาคธุรกิจนำไปใช้ประโยชน์ เพิกเฉยต่อการลดการปล่อยคาร์บอนที่ต้นทาง ทั้งยังลดทอนสิทธิของคนในพื้นที่เสียแล้ว ทางออกของการลดก๊าซเรือนกระจกที่สมประโยชน์ร่วมกันจะอยู่ตรงไหน?

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

วิธีหลีกเลี่ยงข้อครหา ‘ฟอกเขียว’ สำหรับบริษัทผู้ซื้อคาร์บอนเครดิต

เสียงจากนักวิทยาศาสตร์ ‘การอนุรักษ์ป่า’ สำคัญกว่า ‘การปลูกป่า’

คาร์บอนเครดิตป่าไม้ ทำอย่างไรจึง ‘ยุติธรรม’ และ ‘ไม่ฟอกเขียว’

รักโลกแบบลวงๆ เมื่อ 90% ของโครงการคาร์บอนเครดิตพิทักษ์ป่าดิบชื้น อาจเป็น ‘เครดิตที่ไม่มีอยู่จริง’

วิกฤติ PM 2.5 บทบาทกฎหมายธุรกิจ กับสิทธิมนุษยชนและตลาดคาร์บอน

Follow

TRENDING

+
morebutton read more