ไทยและผู้ลี้ภัย บทเรียนจากชายแดนตะวันออกถึงตะวันตกของไทย
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- การถอดบทเรียนเรื่องการจัดการผู้ลี้ภัยของไทย ต้องย้อนกลับไปปี 2518 หลังการยึดกรุงไซ่ง่อนของเวียดนามใต้ เมื่อเกิดปรากฏการณ์ผู้ลี้ภัยทางเรือ อพยพไปยังประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฮ่องกง อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
- ประเทศไทยไม่ได้ใช้คำว่า ‘ผู้ลี้ภัย’ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ แต่จะเรียกว่า ‘ผู้ได้รับการคุ้มครอง’ หรือหากเป็นคนจากพม่าก็จะเรียกว่า ‘ผู้หนีภัยการสู้รบ’ โดยให้อยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราว ห้ามทำงานและห้ามออกนอกพื้นที่
- ความรุนแรง และความยากจนเฉียบพลัน เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้คนจากประเทศพม่าพยายามหนีเข้ามายังไทย บวกกับสถานการณ์ที่ไทยขาดแคลนแรงงาน ทางออกหนึ่งคือ ไทยควรเปิดช่องให้เกิดการจ้างงานถูกกฎหมาย
...
Author
โรยทราย วงศ์สุบรรณ
ที่ปรึกษาการรณรงค์นโยบายเพื่อเครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติแห่งประเทศไทย (Migrant Working Group) ทำงานรณรงค์นโยบายผู้ลี้ภัย ผู้พลัดถิ่น และผู้อพยพในประเทศไทยมานานกว่า 10 ปี รวมทั้งเคยเป็นผู้สังเกตุการเลือกตั้งพม่า 2016 ประจำในรัฐกะเหรี่ยงและรัฐมอญ จบการศึกษาระดับปริญญาโทด้านการย้ายถิ่น (MA Migration Studies) จาก University of Sussex ภายใต้ทุนการศึกษาของรัฐบาลอังกฤษ และโครงการ Summer School on Forced Migration จาก Oxford University