เมื่อ ‘คนรุ่นใหม่ไม่เรียน-ไม่ทำงาน’ ปัญหาที่มากกว่าวาทกรรม ‘ไม่สู้งาน-รอแบมือขอเงินพ่อแม่’
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- 'NEETs' ย่อมาจาก 'Not in Education, Employment or Training' เป็นคำที่อธิบายปรากฏการณ์ของกลุ่มคนรุ่นใหม่อายุ 15-24 ปี ที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษา การจ้างงาน หรือการฝึกอบรม คำนี้เริ่มใช้ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา
- ในปี 2020 กลุ่มประเทศ OECD คนรุ่นใหม่มีอัตราว่างงานเพียง 2 เปอร์เซ็นต์ แต่ในจำนวนคนรุ่นใหม่ที่ว่างงานนี้กลับเป็นผู้หญิงถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ส่วน 'ญี่ปุ่น' หนึ่งในประเทศที่ถูกฉายภาพปัญหาของกลุ่ม NEETs ในแง่ลบมากที่สุดประเทศหนึ่ง เอาเข้าจริงแล้วคนรุ่นใหม่กลับมีอัตราว่างงานน้อยมาก
- สำหรับประเทศไทย ช่วงไตรมาสที่ 2/2563 มี NEETs ประมาณ 1.37 ล้านคน สูงที่สุดในรอบ 10 ปี ซึ่งน่าจะเป็นผลจากการระบาดของโควิด-19 พบทั้งจากกลุ่มครัวเรือนรายได้ต่ำและสูง
- ในโลกตะวันออก เช่น ญี่ปุ่น จีน และไทย คนรุ่นเก่าที่มีความคิด ‘อนุรักษ์นิยม’ มักจะมองอย่างผิวเผินว่า NEETs เป็น 'ปัญหาส่วนตัวของคนรุ่นใหม่’ มีการสร้างวาทกรรมว่าคนรุ่นใหม่ที่ไม่เรียนหรือทำงานนั้น 'เกียจคร้าน เหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ ไม่สู้งาน และรอแต่แบมือขอเงินจากพ่อแม่' โดยละเลยการมองในมิติอื่นๆ
...
Author
วิทย์ บุญ
‘แรงงานรับจ้างอิสระ’ สนใจประเด็นแรงงาน และทำงานเรื่องนี้ร่วมกับสื่อ องค์กรพัฒนาเอกชน สถานศึกษา ฯลฯ มาตั้งแต่ปี 2549 จวบจนปัจจุบัน