ได้เวลาปฏิรูปหนี้เกษตรกรอย่างยั่งยืน
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- เกษตรกรนับพันคนจาก 36 จังหวัดทั่วประเทศ ในนามของเครือข่ายหนี้สินชาวนาแห่งประเทศไทย (คนท.) เดินทางมาชุมนุมตั้งแต่วันจันทร์ที่ 24 ม.ค. 2565 จากนั้นย้ายไปชุมนุมหน้าทำเนียบ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลช่วยแก้ปัญหาหนี้สินของชาวนา
- กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร หรือ กฟก. ถูกตั้งขึ้นมาช่วยเหลือเรื่องหนี้เกษตรกร ช่วยชะลอการบังคับคดี-ยึดทรัพย์-ขายทอดตลาด ระหว่างที่โอนหนี้สินของเกษตรกรเข้ากระบวนการ กฟก. ซึ่งก็จะช่วยให้เกษตรกรสามารถรักษาที่นาและทรัพย์สินก้อนสุดท้าย ให้ไม่ต้องหลุดมือไปได้
- ‘หนี้ที่ไม่เป็นธรรม’ ในบริบทของหนี้เกษตรกร หมายถึงหนี้ที่เกิดจากนโยบายของรัฐที่ผิดพลาด ล้มเหลว หรือคอร์รัปชัน เคยสัญญาว่าจะรับซื้อ จำนำ หรือประกันราคาผลผลิตในราคาเท่านั้นเท่านี้ หรือให้คำมั่นสัญญากับเกษตรกรว่าปลูกพืชนี้แล้วจะได้กำไรดี แต่สุดท้ายไม่ทำตามสัญญา หรือตลาดไม่เป็นไปตามที่รัฐบาลอ้างตอนที่มาโม้ให้เกษตรกรลงทุน
...
Author
สฤณี อาชวานันทกุล
นักเขียน นักแปล และนักวิชาการอิสระด้านการเงิน มีความสุขกับการทำงานในประเด็น ธุรกิจที่ยั่งยืน พลังพลเมือง และเกม