Humberger Menu

แรงงานไทยจะอยู่อย่างไร เมื่อค่าจ้างไม่เพิ่มตามค่าครองชีพ เลี้ยงตัวเองแทบไม่ไหว เลี้ยงครอบครัวก็ยิ่งยาก

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Economy

Social Issues

28 เม.ย. 65

creator
รุ่งนภา พิมมะศรี
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

13 พ.ย. 67

World
ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
morebutton read more
Summary
  • จากปี 2556 ถึง 2565 ค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มขึ้นในช่วง 4.33 ถึง 12 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ที่น่าเป็นห่วงคือค่าจ้างขั้นต่ำไม่สามารถเลี้ยงดูแรงงานให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และยากที่จะเลี้ยงดูครอบครัวได้ ที่ผ่านมาแรงงานไทยพึ่งพารายได้จากการทำงานล่วงเวลา (โอที) แต่เมื่อเกิดโควิด-19 แรงงานในหลายๆ อุตสาหกรรมที่แม้ไม่ถูกเลิกจ้าง แต่ก็ประสบปัญหาเวลาการทำงานลดลง เงินโอทีน้อยลง หรือไม่มีเลย
  • ภาคแรงงานพยายามเรียกร้องการขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำมาตลอด เฉพาะในปีนี้ก็มีการเรียกร้องกันมาแล้วหลายครั้ง ตัวเลขล่าสุดที่เสนอขอคือ วันละ 492 บาท ตอนนี้การเรียกร้องยังไม่สำเร็จ และคาดว่าไม่ง่าย เพราะฝ่ายนายจ้างไม่เห็นด้วยกับการขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำแน่ๆ อยู่แล้ว ความหวังของแรงงานจึงอยู่ที่รัฐบาล
  • การขึ้นค่าจ้างควรปรับขึ้นอย่างไรจึงจะเหมาะสม ตัวเลขแค่ไหนที่รับได้ทั้งสองฝ่าย หรือรัฐบาลจะมีกลไกอะไรมาช่วยให้ค่าจ้างปรับขึ้นได้ในระดับที่แรงงานอยู่ได้อย่างมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร รัฐบาลควรหาแนวทางและสรุปให้ได้โดยเร็ว ก่อนที่แรงงานและครัวเรือนไทยจะอยู่ยากจนอยู่ไม่ได้

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ไม่เหมือนที่คุยกันไว้… ขึ้นค่าแรง 400 บาท เฉพาะโรงแรมหรู เพื่อแก้ปัญหาปากท้องจริงจัง หรือเป็นการเร่งสปีดสร้างผลงานของรัฐบาล

ไรเดอร์ประท้วงแพลตฟอร์ม ยอดภูเขาน้ำแข็งปัญหาแรงงาน ต่อให้เหนื่อยแทบตายแค่ไหน สุดท้ายก็ไม่มีอำนาจต่อรองอยู่ในมือ

Happy Halloween 2023 ถ้าประเทศชะตาขาด แล้วคนไทยจะได้ผุดได้เกิดกี่โมง?

เศรษฐา ทวีสิน ชี้แจง นโยบายแรงงานของรัฐบาล เร่งเจรจาค่าแรงขั้นต่ำ 400

ปัญหาขาดแคลนแรงงานในไทย คงแก้ไม่ได้ ถ้ายังกดค่าแรง คนทำงานไม่พอกิน ขณะที่ตลาดงานต่างประเทศจ่ายเงินดีกว่า

Follow

TRENDING

+
morebutton read more