ค่าไฟแพง FT พุ่ง ติดโซลาร์เซลล์อาจไม่ตอบโจทย์?
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- จากที่ค่าไฟฟ้าขึ้นในช่วงหน้าร้อน ด้วยปัจจัยหลักคือการขึ้นค่า FT (ค่าไฟฟ้าผันแปร) ปรับค่า FT ในอัตรา 93.43 สตางค์ต่อหน่วย ช่วงมกราคม - เมษายน 2566 ส่งผลให้ค่าไฟอยู่ที่หน่วยละ 4.72 บาท
- ในเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2566 มีมติเห็นชอบค่า FT เป็น 98.27 สตางค์ต่อหน่วย ทำให้ค่าไฟฟ้าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.77 บาทต่อหน่วยมากที่สุดเป็นประวัติการณ์จากสถิติตั้งแต่ปี 2535 ทุบสถิติเมื่อเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ปี 2554 ที่มีค่า FT ถึง 95.81 ซึ่งปี 2554 เป็นปีที่ประเทศไทยประสบปัญหาอุทกภัยครั้งรุนแรงที่สุดเป็นประวัติการณ์
- สาเหตุหลักเป็นเพราะปัญหาการวางแผนการผลิตไฟฟ้าในประเทศที่ปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าเอกชนเกินความต้องการอยู่ในระบบเป็นจำนวนมาก มีปริมาณไฟฟ้าสำรองมากถึงร้อยละ 40 – 60 ภาระส่วนนี้จะถูกแปลงออกมาเป็นค่า FT
- หนึ่งในทางออกที่จะแก้ปัญหาค่าไฟฟ้าแพงในระยะยาว คงหนีไม่พ้นการสนับสนุนใช้พลังงานสะอาดหรือพลังงานหมุนเวียน ที่ใช้ได้ทั้งในครัวเรือนและภาคธุรกิจ อย่าง ‘โซลาร์เซลล์’ ที่อาจมีทั้งข้อดีและข้อเสีย รวมไปถึงการคำนวณถึงความคุ้มค่า
...
Author
ณัฏฐ์นรี เฮงสาโรชัย
กองบรรณาธิการไทยรัฐพลัส