Humberger Menu

‘ขั้วเดิม-ขั้วใหม่-ข้ามขั้ว’ ว่าด้วยสูตรจัดตั้งรัฐบาล หลังการเลือกตั้ง 2566

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Current Issues

Politics

14 พ.ค. 66

creator
ณัชปกร นามเมือง
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

13 พ.ย. 67

World
ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
morebutton read more
Summary
  • ที่ผ่านมา การจัดตั้งรัฐบาลแบ่งออกเป็นสองขั้ว ได้แก่ ฝ่ายที่สนับสนุนการสืบทอดอำนาจของรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หลังการเลือกตั้ง 2562 และฝ่ายที่ต่อต้านการสืบทอดอำนาจของรัฐบาล พลเอกประยุทธ์
  • หากพรรคพลังประชารัฐและพรรครวมไทยสร้างชาติ รวมถึงพรรคร่วมรัฐบาลเดิม สามารถรวมเสียงกันถึง 126 เสียง ก็สามารถรวมเสียงกับ ส.ว. 250 คน ให้ได้ 376 เสียง เพื่อจัดตั้งรัฐบาลได้ แต่รัฐบาลเสียงข้างน้อยจะเป็นรัฐบาลที่ไม่มีเสถียรภาพ
  • หากพรรคร่วมฝ่ายค้านเดิมแม้จะรวมเสียงกันไม่ถึง 376 เสียง แต่หากรวมเสียงกันได้มากกว่า 300 เสียง ก็อาจจะจัดตั้งรัฐบาลได้ หากว่า ส.ว. ทั้ง 250 เสียง หรือพรรคร่วมรัฐบาลเดิม ยอมเคารพมติของประชาชนและยกมือลงมติเลือกนายกฯ จากพรรคที่ได้ ส.ส. มากที่สุด

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

สถานการณ์สิทธิมนุษยชนไทย 2566: 10 ก้าวหน้า 10 ถดถอย

จาก 14 ตุลา ถึง 14 พฤษภา จากชัยชนะกลายเป็นพ่ายแพ้ แต่มีเป้าหมายสูงกว่าเดิม

7 สิ่งมหัศจรรย์ในปี 2566 ที่คนไทยต้องเจอ จนได้รู้ว่า ‘ไม่มีอะไรที่เราทำได้’

ถ้าอยากคืนความสุข ก็ต้องคืนประชาธิปไตยเต็มใบให้ประชาชน

3 เดือนหลัง 14 พฤษภา ประเทศไทยก็ยังเหมือนเดิม

Follow

TRENDING

+
morebutton read more