‘วิกฤติวัยกลางคน’ มีจริงหรือไม่?
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- หากสวมวิธีคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลักที่มองว่าความสุขของมนุษย์แปรผันไปตามระดับรายได้และความมั่งคั่ง ความสุขและทุกข์ในช่วงวัยเด็กก็คงขึ้นอยู่กับฐานะทางเศรษฐกิจของพ่อแม่ แต่พอเริ่มทำงาน ความสุขน่าจะขยับปรับขึ้นตามรายได้และอายุที่มากขึ้น ก่อนจะดิ่งลงเหวหลังจากเกษียณ เพราะเป็นช่วงวัยที่ร่างกายโรยราและมีแต่ค่าใช้จ่าย
- การสำรวจความสุขตามช่วงวัยในประเทศพัฒนาแล้วกลับได้ผลลัพธ์เป็นกราฟเส้นโค้งรูปตัว U โดยวัยเด็กจะเป็นวัยที่เปี่ยมสุข ก่อนจะเริ่มถดถอยดิ่งลงถึงจุดต่ำสุดในช่วงวัยกลางคนระหว่างอายุปลาย 40 ถึงต้น 50 ปี ก่อนที่จะขยับกลับขึ้นมาอีกครั้ง แม้ว่าจะเกษียณอายุและไม่มีรายได้ก็ตามที
- มีหลากหลายคำอธิบายถึงสาเหตุของการเกิด ‘วิกฤติวัยกลางคน’ อาทิ ความทุกข์ใจเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ที่สะสมมาอย่างยาวนาน ทับถมกันในวัยกลางคนจนกลายเป็นโรคซึมเศร้า หรือความรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย หรือวัยกลางคนเป็นช่วงอายุที่มีภาระความรับผิดชอบทั้งต้องดูแลลูกๆ ที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เต็มที่ และต้องดูแลพ่อแม่ที่ย่างเข้าสู่วัยชรา เป็นต้น
...
Author
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์
ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย Climate Finance Network Thailand บัณฑิตด้านการเงินและการบัญชีที่เคยผ่านงานทั้งมูลนิธิ สตาร์ตอัพ ไปจนถึงธนาคารข้ามชาติ ที่ชอบใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการอ่าน เขียน เรียนคอร์สออนไลน์ ทำอาหาร และวิ่งตามลูกชายวัยกำลังซน