Humberger Menu

พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลไทย-กัมพูชา จะปล่อยให้วาทกรรม ‘เสียดินแดน’ หลอกหลอนกันไปถึงไหน?

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Thai Politics

Global Affairs

24 ม.ค. 67

creator
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

13 พ.ย. 67

World
ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
morebutton read more
Summary
  • วันที่ 7 กุมภาพันธ์ ไทยและกัมพูชาจะมีการเจรจาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกันทางทะเลในอ่าวไทย มีเสียงจากฝ่ายอนุรักษนิยมของไทยเตือนให้ระวังว่า การเจรจากันบนพื้นฐานของบันทึกความเข้าใจที่ลงนามกันเมื่อปี 2001 นั้นเท่ากับ ‘ยอมรับ’ การละเมิดอำนาจอธิปไตยของไทย
  • บันทึกความเข้าใจกำหนดว่า จะต้องดำเนินการจัดทำความตกลงสำหรับการพัฒนาร่วมและแบ่งเขตทางทะเลไปพร้อมกัน แต่ก็ไม่มีข้อความใดในบันทึกดังกล่าวนั้นกำหนดหรือห้ามไม่ให้อันใดอันหนึ่งทำเสร็จก่อนหรือหลัง และในทางปฏิบัติ คงไม่ใช่เรื่องง่ายนักที่จะทำทั้งสองเรื่องให้เสร็จพร้อมกัน
  • หากไม่ดำเนินการต่อ อาจจะเสียประโยชน์จากการเสียโอกาสที่จะได้ขุดค้นทรัพยากรปิโตรเลียมขึ้นมาใช้ในสถานการณ์ที่ราคาพลังงานกำลังพุ่งขึ้นสูงและปริมาณก๊าซสำรองในแหล่งต่างๆ ทั้งในส่วนของไทยและส่วนในพื้นที่พัฒนาร่วมกับมาเลเซียกำลังจะเหือดแห้งไป

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ถ้าไทยยกเลิก MOU 44 จะเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ทับซ้อนไทย - กัมพูชา

รัฐบาลแพทองธารมีศักยภาพและขีดความสามารถแค่ไหนในการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา

การกลับมาของ ‘วาทกรรมเสียดินแดน’ ที่อาจทำให้ความร่วมมือไทย-กัมพูชา บนพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล ไม่เดินหน้าสักที

พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา จะถอยหลังสู่ทางตัน หรือเดินหน้าหาทางออก

พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ความหวังใหม่ของการพัฒนาปิโตรเลียมของกัมพูชา

Follow

TRENDING

+
morebutton read more