เพราะประเทศไทยไม่ได้มีแค่เผ่าไทย แต่ยังมี ‘ชนเผ่าพื้นเมือง’ ที่มีตัวตน และมีสิทธิเป็นคนเท่ากัน
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎร มีมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมืองฯ พร้อมกับร่างพระราชบัญญัติที่มีหลักการเดียวกันอีก 4 ร่าง โดยมีร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ เสนอโดยคณะรัฐมนตรี (ครม.) เป็นร่างหลัก
- ร่างที่เสนอสภาชนเผ่าพื้นเมืองเป็นเนื้อเดียวกับร่างของ P-Move และร่างของพรรคก้าวไกล เนื่องจากมีคำว่า ‘ชนเผ่าพื้นเมือง’ ส่วนร่างของพรรคเพื่อไทย มีแค่คำว่ากลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งคำว่ากลุ่มชาติพันธุ์เป็นคำที่รัฐมีแนวโน้มยอมรับได้มากกว่า
- จุดประสงค์ของการเรียกร้องให้มีคำว่า ‘ชนเผ่าพื้นเมือง’ คือเพื่อมาเติมเต็มคำว่ากลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อให้ครอบคลุมไปถึงคนบางกลุ่ม เช่น มลาบริ มานิ ชาวเล กลุ่มชาวเขา ฯลฯ ที่มีความเปราะบางและต้องการการสงเคราะห์ช่วยเหลือจากรัฐ
...
Author
บูรพา เล็กล้วนงาม
นักข่าวอิสระและพ่อลูกหนึ่ง คิดเสมอว่าสื่อมวลชนต้องรับใช้ประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย เชื่อในการเปลี่ยนแปลง ตั้งใจเขียนงานเพื่อส่งเสริมเสรีภาพของผู้คน และความเสมอภาคของสังคม ปัจจุบันยังเป็นพ่อค้าขายอาหาร ผู้สนับสนุนพรรคการเมือง และแฟนฟุตบอลตัวยง