Humberger Menu

กัมพูชาพร้อมเจรจาแหล่งปิโตรเลียมในพื้นที่ทับซ้อน แต่มีแผนลดการใช้ฟอสซิล และเร่งพัฒนาพลังงานหมุนเวียน

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

World

Global Affairs

31 ต.ค. 67

creator
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

13 พ.ย. 67

World
ทรัมป์ 2.0 และผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ความมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
morebutton read more
Summary
  • กัมพูชาแสดงความพร้อมที่จะเจรจาเรื่องแก้ไขข้อพิพาทในพื้นที่ทับซ้อน เพื่อพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม แต่ในความเป็นจริง เนื่องจากกัมพูชาประสบปัญหาเรื่องปิโตรเลียมมาหลายครั้ง จึงมีแผนหันหน้าไปหาพลังงานอื่นๆ มากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานหมุนเวียน
  • ประเทศไทยดูจะมีความจำเป็นมากกว่า เพราะพึ่งพาก๊าซเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตกระแสไฟฟ้ามากถึง 60 เปอร์เซ็นต์ กัมพูชาจะต่างจากไทยอยู่มากตรงที่พึ่งพาแหล่งพลังงานสำหรับการผลิตไฟฟ้าทั้งภายในและภายนอกประเทศจาก 6 แหล่งใหญ่ด้วยกัน
  • แผนพัฒนาพลังงานของกัมพูชา (PDP) กำหนดว่า ภายในไม่กี่ปีข้างหน้า กัมพูชาจะลดการพึ่งพาพลังงานฟอสซิลและก๊าซธรรมชาติลงเรื่อยๆ แต่จะพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียนขึ้นมาทดแทนในสัดส่วนที่มากขึ้น เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ และชีวมวล

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ถ้าไทยยกเลิก MOU 44 จะเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ทับซ้อนไทย - กัมพูชา

รัฐบาลแพทองธารมีศักยภาพและขีดความสามารถแค่ไหนในการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา

การกลับมาของ ‘วาทกรรมเสียดินแดน’ ที่อาจทำให้ความร่วมมือไทย-กัมพูชา บนพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล ไม่เดินหน้าสักที

พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา จะถอยหลังสู่ทางตัน หรือเดินหน้าหาทางออก

พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ความหวังใหม่ของการพัฒนาปิโตรเลียมของกัมพูชา

Follow

TRENDING

+
morebutton read more