14 ตุลา + 6 ตุลา : การจารึกประวัติศาสตร์ ‘โศกนาฏกรรมการเมืองไทย’ ในสื่อภาพเคลื่อนไหว
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
LATEST
Summary
- การประท้วงขับไล่ทรราชในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 และการสังหารหมู่นักศึกษาธรรมศาสตร์ 6 ตุลาคม 2519 ถือเป็นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองของไทยที่ถูกถ่ายทอดและอ้างอิงอยู่ใน ‘หนังไทย’ จำนวนหนึ่ง ซึ่งหลายคนมองว่ามีอยู่ไม่มากนัก และยังไม่ ‘ลงลึก’ เท่าที่ควร เมื่อเทียบกับความสำคัญของเหตุการณ์
- นั่นอาจเป็นเพราะคนทำหนังไทยมักหลีกเลี่ยงเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การเมืองมาโดยตลอด สืบเนื่องมาจากข้อจำกัดด้านการเซนเซอร์ บวกกับบรรยากาศของเสรีภาพทางการแสดงออกในสังคมไทยที่ไม่เคยเปิดกว้างมากพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเหตุการณ์ 6 ตุลา ที่ถือเป็น ‘บาดแผล’ ทางประวัติศาสตร์
- อย่างไรก็ดี หนังไทยแต่ละประเภท ต่างก็มีการนำเสนอเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ที่แตกต่างกันไป บทความนี้จึงจะพาผู้อ่านไปสำรวจการนำเสนอเหตุการณ์เดือนตุลาในหนังไทย รวมถึงสื่อภาพเคลื่อนไหวประเภทอื่นๆ ว่ามีเรื่องไหนบ้างที่น่าสนใจ และมีรูปแบบการนำเสนอกันอย่างไร
...
Author
บดินทร์ เทพรัตน์
นักเขียน, นักจัดกิจกรรม, นักธุรกิจ, นักศึกษาปริญญาโท และนักดูหนัง (ในโรง)- TAG
- #ภาพยนตร์
- #หนังไทย
- #คนทำหนังไทย
- #สื่อภาพเคลื่อนไหว
- #6 ตุลา
- #14 ตุลา
- #การเมือง
- #โศกนาฏกรรมการเมืองไทย
- #เราไม่ลืม
- #14 ตุลา สงครามประชาชน
- #ยังบาว
- #คาราบาว
- #สังหารหมู่
- #October Sonata รักที่รอคอย
- #เชือดก่อนชิม
- #โคลิค เด็กเห็นผี
- #มหาลัยสยองขวัญ
- #ลิฟท์แดง
- #ก็เคยสัญญา
- #ฟ้าใสใจชื่นบาน
- #ดาวคะนอง
- #By the Time It Gets Dark
- #เชคสเปียร์ต้องตาย
- #Shakespeare Must Die
- #อย่าลืมฉัน
- #เงาประวัติศาสตร์
- #ภัทรภร ภู่ทอง
- #ก่อนฟ้าสาง
- #5 ตุลาฯ ตะวันจะมาเมื่อฟ้าสาง
- #ประเทศกูมี