Humberger Menu

‘ร่างทรง’ หนังสยองขวัญไทยเลือดใหม่ กับความขัดอกขัดใจต่อการเล่าเรื่องแบบ ‘สารคดีปลอม’

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Subculture

Culture

30 ต.ค. 64

creator
ธีพิสิฐ มหานีรานนท์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Subculture

Monet: The Late Waterscapes นิทรรศการว่าด้วยชุดภาพสระดอกบัวของโมเนต์ และความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับคนญี่ปุ่น

9 พ.ย. 67

Art & Performance
Monet: The Late Waterscapes นิทรรศการว่าด้วยชุดภาพสระดอกบัวของโมเนต์ และความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับคนญี่ปุ่น
morebutton read more
Summary
  • ‘ร่างทรง’ หรือ The Medium เป็นหนังสยองขวัญสัญชาติไทย/เกาหลีของผู้กำกับ โต้ง-บรรจง ปิสัญธนะกูล ที่เพิ่งเข้าโรงฉายอย่างเป็นทางการในไทยไปเมื่อไม่กี่วันมานี้ หลังจากออกฉายในเกาหลีใต้ไปแล้วล่วงหน้า และสร้างกระแสตอบรับเชิงบวกกลับมาอย่างล้นหลาม ทั้งในแง่ของรางวัล, รายได้ และคำวิจารณ์
  • ทว่าตั้งแต่ที่ตัวหนังเข้าฉายในบ้านเราไปเมื่อวันที่ 28 ตุลาคมที่ผ่านมา เสียงตอบรับของผู้ชมชาวไทยก็กลับแตกออกเป็นสองฟากฝั่ง โดยในฝั่งที่ชื่นชอบ บอกว่า ‘ร่างทรง’ คือหนังไทยที่สามารถถ่ายทอดความเชื่อในเรื่องราวลี้ลับของคนบ้านเราออกมาได้อย่างน่าสนใจ ขณะที่ในฝั่งที่ผิดหวัง ก็กลับบอกว่า หนังมีข้อบกพร่องคือการดำเนินเรื่องที่ ‘ไปไม่สุด’ โดยเฉพาะการเลือกใช้แนวทางการเล่าแบบ ‘สารคดีปลอม’ (Mockumentary) ซึ่งเป็นการพยายามสร้าง ‘ความสมจริง’ ที่ดูออกจะ ‘ฝืน’ เกินไปสักหน่อย
  • หนังสารคดีปลอมคืออะไร? เหตุใดผู้กำกับบรรจงถึงเลือกใช้มัน? แล้วผู้ชมฝั่งไหนที่คิดผิดหรือคิดถูกกันแน่? -- เราลองไปสำรวจคำถามเหล่านี้พร้อมๆ กัน

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

“ตาคลี เจเนซิสเกิดขึ้นได้เพราะความหวังล้วนๆ เลยนะ” คุยกับ มะเดี่ยว - ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล หัวหมู่ทะลวงฟันที่หวังอยากให้ตาคลี เจเนซิส ปักธงภาพยนตร์ไซไฟไทยในตลาดโลก

สรุปภาพเทศกาลคานส์ 2024: การเมือง เรื่องเพศ ประเทศภาพยนตร์

ขึ้นคานส์: 20 ปีที่ทั้งรักทั้งชังของเทศกาลหนังที่ (อาจจะ) สำคัญที่สุดในโลก

Morrison ภาพยนตร์จัดจ้านแสงสี ดั่งนิทรรศการศิลปะที่ทับซ้อนระหว่างความฝันและความจริง

500 Days of Summer 15 ปีที่เราเข้าใจมากขึ้นทีละนิดว่านี่แหละ ‘ความรัก’ และนี่แหละ ‘ความไม่รัก’

Follow

TRENDING

+
morebutton read more