Humberger Menu

Return to Seoul : ในวันที่ไม่มี ‘บ้านของใจ’ ให้กลับ

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Subculture

Film & Series

Culture

23 พ.ค. 66

creator
อาคิรา เดชารัตน์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Subculture

Monet: The Late Waterscapes นิทรรศการว่าด้วยชุดภาพสระดอกบัวของโมเนต์ และความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับคนญี่ปุ่น

9 พ.ย. 67

Art & Performance
Monet: The Late Waterscapes นิทรรศการว่าด้วยชุดภาพสระดอกบัวของโมเนต์ และความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับคนญี่ปุ่น
morebutton read more
Summary
  • Return to Seoul เป็นภาพยนตร์ 3 ภาษา (ฝรั่งเศส เกาหลี และอังกฤษ) ที่เล่าเรื่องราวของ เฟรดดี้ หญิงสาวเชื้อชาติเกาหลีใต้ ผู้เป็นหนึ่งในอดีตทารกหลักแสนรายที่ถูกครอบครัวชาวตะวันตกรับออกนอกประเทศไปเลี้ยงดูเป็นลูกบุญธรรมหลังสงคราม จนทำให้เธอไม่มีความผูกพัน หรือความทรงจำอะไรเกี่ยวกับบ้านเกิด และพ่อแม่ผู้ให้กำเนิดแม้แต่น้อย
  • ดาวี ชู (Davy Chou) ผู้กำกับชาวฝรั่งเศสเชื้อชาติกัมพูชาคนนี้หยิบเรื่องราวนี้มาปั้นแต่งเพื่อถ่ายทอด ‘ความรู้สึกไม่เข้าพวก’ ของบุตรบุญธรรมข้ามประเทศ มาจากเรื่องราวจริงๆ ของเพื่อนสนิทเชื้อสายเกาหลีใต้ที่ถูกรับเลี้ยง และเติบโตขึ้นมาในฝรั่งเศส ซึ่งเพื่อนคนนี้ก็เป็นผู้ร่วมเขียนบทของภาพยนตร์ด้วยเช่นกัน
  • วลีที่ว่า “ไม่มีที่ไหนเหมือนบ้าน” จึงอาจจะใช้ไม่ได้กับภาพยนตร์เรื่องนี้ เพราะถึงแม้การดำรงอยู่ของเฟรดดี้จะเป็นสิ่งเชื่อมโยงสองประเทศเข้าไว้ด้วยกัน แต่นั่นก็เป็นจุดที่ทำให้เธอรู้สึก ‘ติดอยู่ตรงกลาง’ และไม่แนบสนิทกับที่ไหนเลย เธออาจมีบ้านอยู่สองแดน แต่กลับไม่มี ‘บ้านของใจ’ ให้ดำรงอยู่แม้แต่น้อย

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

“ตาคลี เจเนซิสเกิดขึ้นได้เพราะความหวังล้วนๆ เลยนะ” คุยกับ มะเดี่ยว - ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล หัวหมู่ทะลวงฟันที่หวังอยากให้ตาคลี เจเนซิส ปักธงภาพยนตร์ไซไฟไทยในตลาดโลก

สรุปภาพเทศกาลคานส์ 2024: การเมือง เรื่องเพศ ประเทศภาพยนตร์

ขึ้นคานส์: 20 ปีที่ทั้งรักทั้งชังของเทศกาลหนังที่ (อาจจะ) สำคัญที่สุดในโลก

Morrison ภาพยนตร์จัดจ้านแสงสี ดั่งนิทรรศการศิลปะที่ทับซ้อนระหว่างความฝันและความจริง

500 Days of Summer 15 ปีที่เราเข้าใจมากขึ้นทีละนิดว่านี่แหละ ‘ความรัก’ และนี่แหละ ‘ความไม่รัก’

Follow

TRENDING

+
morebutton read more