Humberger Menu

Monster : เมื่อเราทุกคนกลายเป็น ‘สัตว์ประหลาด’ ในเรื่องราวของคนอื่นได้เสมอ

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Subculture

Film & Series

Culture

9 ก.ย. 66

creator
อาคิรา เดชารัตน์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Subculture

Monet: The Late Waterscapes นิทรรศการว่าด้วยชุดภาพสระดอกบัวของโมเนต์ และความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับคนญี่ปุ่น

9 พ.ย. 67

Art & Performance
Monet: The Late Waterscapes นิทรรศการว่าด้วยชุดภาพสระดอกบัวของโมเนต์ และความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับคนญี่ปุ่น
morebutton read more
Summary
  • ชีวิตที่ดำเนินอยู่ล้วนเป็นทั้งเรื่องที่ ‘น่ายินดี’ และ ‘น่าอึดอัดใจ’ คือสิ่งที่ ฮิโรคาสุ โคเรเอดะ ผู้กำกับหนังรุ่นใหญ่จากญี่ปุ่นทำให้เรารู้สึกขณะดูหนังของเขา ซึ่งหลายคนอาจเริ่มรู้จักโคเรเอดะจาก Nobody Knows (2004) ภาพยนตร์เรื่องแรกที่สร้างชื่อเสียงระดับโลกให้แก่เขา
  • เราเชื่อว่า แม้บางคนอาจไม่ได้รู้จักความเป็นมาของโคเรเอดะในเชิงลึกนัก แต่คงไม่พ้นต้องเคยผ่านตาหนังดังเรื่องต่างๆ ที่เขาเคยฝากฝีมือกำกับควบเขียนบทเอาไว้มาไม่มากก็น้อย เช่น Like Father, Like Son (2013), Our Little Sister (2015) หรือ Shoplifters (2018) ที่เรื่องหลังนี้ทำให้เขาคว้ารางวัลปาล์มทองจากเมืองคานส์มาจนได้ ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นหนังคุณภาพที่เป็นตัวอย่างชั้นดีของการพยายามหาจุดสมดุลระหว่างการเป็น ‘หนังที่ซับซ้อน’ กับ ‘หนังที่ย่อยง่าย’ ด้วยการผูกโยงประเด็นครอบครัวเอาไว้อย่างลึกซึ้ง
  • หนังของเขามักจะเล่าผ่านคาแรกเตอร์ที่เป็นธรรมชาติ และถูกแผ่แบให้เห็นอย่างตรงไปตรงมา ไม่ว่าจะด้านดีหรือด้านร้าย ซึ่งความเรียบง่ายเหล่านี้ส่องสะท้อนให้เราเห็นสิ่งมีชีวิตที่เราพบเจอในกระจกอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และเราไม่อาจเบือนหน้าหนีมันได้ เพราะมันคือความจริงแท้ของ ‘มนุษย์’ อย่างเราๆ นี่เอง และความรุนแรงของโคเรเอดะในครั้งนี้ ก็กลับมาในนามของ Monster ภาพยนตร์ที่จะชวนเราเข้ามาทำความรู้จักกับ ‘สัตว์ประหลาด’ ในตัวเรา
  • หนังว่าด้วยเรื่องราวของแม่เลี้ยงเดี่ยวคนหนึ่งที่กังวลเกี่ยวกับลูกชายวัยประถมปลายที่เริ่มมีพฤติกรรมประหลาดต่างๆ อันเนื่องมาจากการถูก ‘ทำร้าย’ ทางร่างกายและจิตใจจากครูประจำชั้น เธอจึงรีบมุ่งหน้าไปที่โรงเรียนเพื่อทวงถามความรับผิดชอบ ซึ่งหนังเลือกเล่าผ่านตัวละครหลักสามมุมมอง คือ แม่, ครู และลูกชาย เพื่อตีแผ่ให้เราค่อยๆ เห็นว่ามันเกิดอะไรขึ้นกันแน่ในเรื่องราวพวกนี้

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

“ตาคลี เจเนซิสเกิดขึ้นได้เพราะความหวังล้วนๆ เลยนะ” คุยกับ มะเดี่ยว - ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล หัวหมู่ทะลวงฟันที่หวังอยากให้ตาคลี เจเนซิส ปักธงภาพยนตร์ไซไฟไทยในตลาดโลก

สรุปภาพเทศกาลคานส์ 2024: การเมือง เรื่องเพศ ประเทศภาพยนตร์

ขึ้นคานส์: 20 ปีที่ทั้งรักทั้งชังของเทศกาลหนังที่ (อาจจะ) สำคัญที่สุดในโลก

Morrison ภาพยนตร์จัดจ้านแสงสี ดั่งนิทรรศการศิลปะที่ทับซ้อนระหว่างความฝันและความจริง

500 Days of Summer 15 ปีที่เราเข้าใจมากขึ้นทีละนิดว่านี่แหละ ‘ความรัก’ และนี่แหละ ‘ความไม่รัก’

Follow

TRENDING

+
morebutton read more